เด็กๆ มาช่วยครูนับไข่หน่อยซิคะว่ามีกี่ใบ

วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 6-7

สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปทรงเลขาคณิต
เด็ก ๆ ชอบต่อบล็อกกันมากและจะต่อตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์


เด็ก ๆ แบ่งปันของเล่นกัน และเล่นกันด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ปั้นแป้งโดกล้ามเนื้อมัดเล็กแข็งแรงเป็นที่หนึ่ง เด็ก ๆ ชอบ
ต้อนรับพี่ๆ ไปสังเกตการเด็กๆ ขอให้พี่ๆ เต้นให้ดูคะ

ไปสังเกตการที่ โรงเรียนเกษมพิทยา อ.1/2

ดิฉันได้ออกไปศึกษาสังเกต พฤติกรรมเด็ก ที่โรงเรียนเกษมพิทยา ได้ความรู้ ประสบการณ์ ในการเรียนการสอน เพื่อเก็บข้อมูล รูปแบบการเรียนการสอน ขสังเกตการณ์ที่โรงเรียนเกษมพิทยา แผนกอนุบาล ได้สังเกตอนุบาล2/2 ในการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ก็คือ1. การติดวันที่ โดยจะมีป้ายวันที่ให้เด็กติดเองบนกระดาน มีการให้เด็กทั้งห้องช่วยกันนับถ้วนวันที่จนถึงวันที่ปัจจุบัน2.การวัดอุณหภูมิของห้องเรียน ในห้องเรียนจะมีเครื่องวัด ครูและเด็กช่วยกันดู แล้วจะให้เด็กได้มาเขียนตัวเลขลงบนกระดาษตรงเครื่องวัด แล้วอ่านพร้อมกัน3. การเรียนโยคะ ในเรืองของตำแหน่งการยืน การทรงตัวของแต่ละคนของครู และพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็ก นำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์มาประยุกค์ในในการเรียนการสอน ของรายวิชาต่างๆ จากที่ไปศึกษาสังเกต ดิฉันได้นำความรู้ และประสบการณ์ มาปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาตนเอง ให้ดีขึ้น และ มีประสิทธภาพในการเรียนต่อไปค่ะ

วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 17

ภาพ อ. แนะนำและให้ข้อสรุปหลังการสอน นำรูปเลขาคณิตมาต่อเป็นภาพตามจินตนาการของเด็ก ๆ


ซักถามเด็ก ๆ ว่าเด็ก ๆ ต่อรูปเลขาคณิตเป็นรูปอะไรคะ ทำไมถึงต่อเป็นรูปนั้นละคะ


เด็ก ๆ ช่วยกันระดมความคิดว่าจะต่อเป็นรูปอะไร





คุณครูมีรูปอะไรอยู่ในมือคะเด็ก ๆ เด็กๆ ตอบว่า วงกลมคะ


ในวันนี้เป็นวันสอบสอน วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่องที่สอนคือ รูปเลขาคณิต สามเหลียม สี่เหลียม และวงกลม


1. ขอบข่ายคณิตศาตร์
รูปเลขาคณิต คือ รูปวงกลม รูปสี่เหลี่ยม รูปสามเหลี่ยม
ขนาด คือ จำนวนเท่ากันหมด
นับจำนวน คือ จำนวนรูปเลขาคณิต จำนวนสมาชิกใน
เปรียบเทียบ คือ ขนาด รูปจัดกลุ่ม แยกประเภท คือ สี ขนาด รูป
2. วิธีสอน
ขั้นนำ
ร้องเพลง 1 2 3 1 2 3 เพลงเก็บเด็ก และเพลง นั่งตัวตรง ๆ
แจกรูปเลขาคณิตให้เด็ก คนละ 1 ชิ้น ให้เด็กๆส่งต่อๆกันไปจนถึงคนสุดท้ายโดยจะต้องมีเพลงเก็บเด็กด้วยเพื่อให้เด็กสงบ และเพื่อความเรียบร้อย
ขั้นสอน
-ครูให้เด็ก ๆ มองสิ่งของในห้องว่าในห้องนี้มีอะไรบ้างที่เด็ก ๆ เห็นแล้วเป็นรูปตามที่ครูให้ดู
-ครูจะร้องเพลง ลมเพลมพัด ให้เด็กทำตามคำสั่งที่ครูบอก เช่น ให้จัดกลุ่มที่มีรูปเลขาคณิตเหมือนกัน
ครูให้เด็กนับจำนวนสมาชิกในกลุ่มของตนเอง
ครูให้เด็กนำรูปเลขาคณิตที่เด็กได้นำมาต่อกันเป็นรูปอะไรก็ได้ตามจินตนาการของเด็ก
ขั้นสรุป
ครูและเด็กๆช่วยกันสรุป เรื่องที่เรียนมีอะไรบ้าง
สรุปเป็น ว่าเด็ก ๆ รู้จักรูปเลขาคณิตอะไรบ้าง
ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผู้สอน
-เวลาที่ให้เด็กเก็บของไม่ควรให้ลุกมาพร้อมกันควรจะมีเพลงเก็บเด็กด้วย เพราะเด็กมีจำนวนมากจะเกิดความวุ้นวาย เพลงที่ใช้ควรมีหลากหลาย

วันจันทร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 15-16

วัน พฤหัสบดี ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554
อาจารย์สอนเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ซึ่งการเรียนรู้ของเด็กนั้นโดยการใช้ประสาทสัผัสทั้ง 5 ผ่านการกระทำ และการเล่นก็เป็นวิธีการเรียนรู้อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งก่อนที่เด็กจะทำแบบฝึกหัดได้นั้นควรให้เด็กได้เห็นของจริง ครูควรกระตุ้นเด็กอยู่เสมอเพื่อให้เด็กได้สนุกสนานในการทำกิจกรรมโดยการใช้คำถาม และอาจารย์ได้สาธิตในการนำสื่อมา เช่น ปากกา 5 ด้าม ในการเรียนรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์นั้นเราต้องนำมาให้เด็กได้นับ 1-5 ซึ่งนับทีละด้าม
คำศัพท์ที่เด็กควรทราบระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน- การวัดเครื่องเวลาหลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเองหลักการทางคณิตศาสตร์ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็กและขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจ

วันเสาร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 14 วันที่ 3กุมภาพันธ์ 0554

เกม จับคู่
วิธีการเล่น โดยให้หาภาพส่วนบน ส่วนล่างของสัตว์แลวนำมาต่อกัน
ให้เป็นภาพที่สมบูรณ์



เกม จิ๊กซอ
วิธีการเล่น นำภาพมาต่อกันให้สมบูรณ์










วิเคราะห์เกมการศึกษาของตนเองและของเพื่อนในห้อง
วิเคราะห์ขอบข่าย วิธีการเล่น มีการสนทนามีการสนทนาซักถามในห้องเรียน มีเกมการศึกษามากมาย
อาทิเช่น
วิเคราะห์สื่อ (เกมการศึกษา)
- เกมจับคู่ภาพสัตว์
- เกมจับคู่รอยเท้า
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูปผีเสื้อ
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูคนข้ามถนน
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูปฝนตก
- เกมต่อภาพจำนวนที่เท่ากัน
- เกมพื้นฐานการบวก
- เกมจับคู่ภาพแบบอุปมาอุปไมย
- เกมจัดหมวดหมู่ภาพ ด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลัง
- เกมจับคู่ภาพซ้อน
- เกมจับคู่ภาพที่แทนด้วยสัญลักษณ์

วันพุธที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 13 วันที่ 27 มกราคม 2554



วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์
เป็นหลักกการที่ต้องการปลูกฝังให้แก่เด็ก ดังนั้นผู้สอนควรศึกษาสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ของแต่ละสาระในกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัยเพื่อให้เข้าใจตรงกัน มีทั้งหมด 5 สาระ
ดังนี้สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการ-จำนวนนับใช้บอกจำนวนของสิ่งต่างๆ จำนวนนับได้แก่ หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า ... เป็นจำนวนนับเพิ่มขึ้นทีละหนึ่งตามลำดับ ซึ่งศูนย์ไม่ใช่จำนวนนับ-ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวน-สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแสดงจำนวนเรียกว่าเลขโดด ในระบบฐานสิบ มี 10 ตัว ประกอบด้วย ตัวเลขฮินดูและตัวเลขไทย
สาระที่ 2 การวัด- เป็นการวัดความยาวของสิ่งต่างๆ การหาความยาวตามแนวนอน การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง การวัดความยาว ความสูงของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องมือวัดที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน -ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า / ต่ำกว่า ยาวกว่า/สูงเท่ากัน เป็นคำที่ใช้ในการเปรียบเทียบความยาว/ความสูงของสิ่งต่างๆ-การเรียงลำดับความยาว/ความสูง การเรียงลำดับน้ำหนักของสิ่งต่างๆ อาจเรียงจากน้อยไปหามากหรือมากไปหาน้อย-การตวง อาจใช้เครื่องมือตวงที่มีหน่วย
สาระที่ 3 เรขาคณิตการจำแนกทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กรวย ทรงกระบอก และรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ใช้วิธีพิจารณารูปร่างและขอบของรูป ส่วนข้างบน ข้างล่าง ข้างใน ข้างนอก ข้างหลัง ระหว่าง ข้างซ้าย ข้างขวา ใกล้ ไกล เป็นคำที่ใช้บอกตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทางของสิ่งต่างๆ
สาระที่ 4 พีชคณิตแบบรูปที่เป็นความสัมพันธ์ที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุด ของจำนวนรูปเรขาคณิต หรือสิ่งต่างๆ
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น-การเก็บรวบรวมข้อมูลอาจใช้วิธีสังเกตหรือสอบถามก็ได้-แผนภูมิรูปภาพเป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่าย โดยใช้รูปภาพแสดงจำนวนของสิ่งต่างๆ อาจวางรูปตามแนวนอนหรือแนวตั้งก็ได้ เช่น กราฟ

บันทึกครั้งที่ 12

วันพฤหัสบดีที่3 กุมภาพันธ์ 2554.
วันนี้อาจารย์จินตนาสอนเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง การจัดกิจกรรมศิลปะโดยการเชื่อมโยงกับคณิตศสาตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย....อาจารย์มีรูปแบบการสอนเป็น Powerpoint นำเสนอภาพต่างๆให้นักศึกษาได้เห็นถึงการจัดกิจกรรมต่างๆอาทิเช่นการนำอุปกรณ์ต่างๆมาปั้มให้เกิดเป็นรูปทรงเรขาคณิตและต่อเติมภาพ อุปกรณ์เช่น-เหรียญ,หนังยาง,ฝาขวดน้ำดินสอ,ปากแก้ว,ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกลม-ไม้บรรทัด,แปรงลบกระดาน,ยางลบ,ตราปั้ม ที่มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม-และรูปทรงอื่นๆ เช่นใบไม้,ดอกไม้,ไม้ไอศกรีม,ฝาจีบน้ำอัดลม,เชือก,หลอดฯลฯเป็นต้นการสานคือการนำกระดาษมาตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมยาวผืนผ้าในลักษณะที่เป็นยาวๆเท่าๆกันแล้วนำมาสานขึ้น-ลงการพับ

บันทึกครั้งที่ 8-11 ไม่มีการเรียนการสอน

วันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 5


วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม 2553
-แบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
- คิดหน่วยการเรียนรู้ แล้วทำ Mind Map
- นำขอบข่ายของคณิตศาสตร์ไปใช้ในกิจกรรม
- คิดกิจกรรมการสอนเป็น 4 วัน แล้วเขียนแผนการจัดประสบการณ์

ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย

-การนับ
-ตัวเลข
-การจับคู่
- การคำนวณ
-การเปรียบเทียบ
-การจัดลำดับ
-รูปทรงเเละเนื้อที่
-การวัด


บันทึกครั้งที่ 5 ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึกครั้งที่ 4

เรื่องคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเช่น การนับวันที่ เวลาจากตอนเช้า เที่ยง เย็นขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ กลาง กว้างรูปร่าง เช่น สูง เตี้ย อ้วน บ้างที่ตั้ง เช่น ก่อนจะถึงบ้านเราสามบ้านเป็นบ้านป้าค่าของเงินความเร็ว เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสิ่งที่ทำ คือ ระยะทางกับเวลาอุณหถูมิ เช่น ร้อน เย็น หนาว อบอุ่นมาตรฐานการวัดในระบบเมตริก-คำศัพท์ที่เด็กควรทราบระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน- การวัดเครื่องเวลาหลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเองหลักการทางคณิตศาสตร์ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็กและขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเช่นเพลง