เด็กๆ มาช่วยครูนับไข่หน่อยซิคะว่ามีกี่ใบ

วันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 5


วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม 2553
-แบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
- คิดหน่วยการเรียนรู้ แล้วทำ Mind Map
- นำขอบข่ายของคณิตศาสตร์ไปใช้ในกิจกรรม
- คิดกิจกรรมการสอนเป็น 4 วัน แล้วเขียนแผนการจัดประสบการณ์

ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย

-การนับ
-ตัวเลข
-การจับคู่
- การคำนวณ
-การเปรียบเทียบ
-การจัดลำดับ
-รูปทรงเเละเนื้อที่
-การวัด


บันทึกครั้งที่ 5 ไม่มีการเรียนการสอน

บันทึกครั้งที่ 4

เรื่องคำศัพท์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเช่น การนับวันที่ เวลาจากตอนเช้า เที่ยง เย็นขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ กลาง กว้างรูปร่าง เช่น สูง เตี้ย อ้วน บ้างที่ตั้ง เช่น ก่อนจะถึงบ้านเราสามบ้านเป็นบ้านป้าค่าของเงินความเร็ว เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสิ่งที่ทำ คือ ระยะทางกับเวลาอุณหถูมิ เช่น ร้อน เย็น หนาว อบอุ่นมาตรฐานการวัดในระบบเมตริก-คำศัพท์ที่เด็กควรทราบระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน- การวัดเครื่องเวลาหลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเองหลักการทางคณิตศาสตร์ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็กและขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัย
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเช่นเพลง